ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

นายแพทย์สันธา ศรีสุภาพ

นายแพทย์สันธา ศรีสุภาพ

  • ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์และพยาบาล, สูตินรีแพทย์ชำนาญการด้านมีบุตรยาก
ประวัติส่วนตัว

นายแพทย์สันธาเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านมีบุตรยาก ประจำ Inspire IVF จบการศึกษาแพทยศาสตร์บัณฑิต เมื่อปี พ.ศ.2526 และได้รับวุฒิบัตรสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาและ วุฒิบัตรเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์เมื่อปี พ.ศ.2532 ช่วงระหว่างปี 2541 ถึง 2544 นายแพทย์สันธาได้ร่วมการฝึกที่ University of Illinois,Chicago USA และยังได้ร่วมกับฝึกงานคลินิก Westmead Fertility Center, ซิดนีย์ออสเตรเลีย ในปี 2549

นายแพทย์สันธาได้รับอนุปริญญาด้านเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ในประเทศไทย นายแพทย์สันธาเริ่มการทำงานตั้งแต่ปี 2549 ถึง 2559 ที่โรงพยาบาลราชวิถีในฐานะหัวหน้าแผนกคลินิกภาวะมีบุตรยากและต่อมไร้ท่อ Gynaecologic ตั้งแต่ปี 2559 ถึงปี 2561 และได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการด้านการแพทย์ที่ First Fertility Center ก่อนที่นายแพทย์สันธาจะเข้าร่วมกับ Inspire IVF ในปี 2562 ถึงปัจจุบัน

การศึกษา
  • แพทย์ศาสต์บัณฑิตจากมหาวิทยาลัยมหิดล (เกียรตินิยมอันดับ1), ประเทศไทย
  • สมาชิกราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์, เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ในปี1989
  • นักวิจัยมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์, ชิคาโก, สหรัฐอเมริกาในปี 1989- 2001
  • แพทย์เฉพาะสาขาที่ Westmead Fertility Centre, ซิดนีย์, ออสเตรเลียในปี 2002
ประสบการณ์การทำงาน
  • ตั้งแต่ปี 2006 ถึง 2016 ดร.สันธา ทำงานที่รพ. ราชวิถีดำรงตำแหน่งหัวหน้าคลินิกมีบุตรยากและคลินิกต่อมไร้ท่อ แผนกนรีเวชศาสตร์
  • ตั้งแต่ปี 2016 ถึง 2018 ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ IVF คลินิกในกรุงเทพฯ
  • ตั้งแต่ปี 2019 เข้าร่วมและได้ตำรงตำแหน่งผู้อำนวยการด้านการแพทย์ที่ Inspire IVF
  • ดร. สันธา ได้ตีพิมพ์บทความจำนวนมากในวารสารนานาชาติที่มีประเด็นและเนื้อหาหลักในเรื่องของ เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
สื่อสิ่งพิมพ์
1
การพัฒนาและตรวจสอบแบบวัดคุณภาพชีวิตเฉพาะสำหรับผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนสำหรับผู้หญิงไทย
Chaikittisilpa S1, Nimnuan C, Chirawatkul S, Jirapinyo M, Techatraisak K, Rattanachaiyanont M, Srisuparp S, Panyakhamlerd K, Jaisamrarn U, Taechakraichana N, Limpongsanurak S. ช่วงวัยหมดประจำเดือน. 2013เดือน มิถุนายน;16(3):387-92
2
การช่วยการกระตุ้นการตกไข่ของผู้หญิงและภาวะมดลูกผิดปกติ
Cameo P1, Srisuparp S, Strakova Z, Fazleabas ชีววิทยาการสืบพันธุ์และต่อมไร้ท่อ. 2004เดือน กรกฎาคม5;2:50.
3
การยับยั้งเอนไซม์matrix metalloproteinases (MMPs)เพื่อป้องกันการสังเคราะห์ของโปรตีนที่มีผลต่อการสร้างอินซูลินที่มีผลต่อโปรตีน -1 ในลิงบาบูน
Strakova Z, Szmidt M, Srisuparp S, Fazleabas AT. ชีววิทยาต่อมไร้ท้อ. 2003เดือนธันวาคม ;144(12):5339-46
4
การส่งทอดสัญญาณเข้าสู่เซลล์เพื่อช่วยให้เกิดภาวะการตกไข่ในเซลล์เยื่อบุผิวโพรงมดลูก
Srisuparp S, Strakova Z, Brudney A, Mukherjee S, Reierstad S, Hunzicker-Dunn M, Fazleabas AT. ชีววิทยาเพื่อการสืบพันธุ์. 2003 เดือนกุมภาพันธ์;68(2):457-64.
5
IL-1beta ในหลอดทดลอง
Strakova Z, Srisuparp S, Fazleabas J วารสารภูมิคุ้มกันวิทยาการสืบพันธุ์. 2002เดือน พฤษภาคม ถึง เดือนมิถุนายน ;55(1-2):35
6
บทบาทของ chorionic gonadotropin (CG) ในบลาสโตซิสต์
Srisuparp S, Strakova Z, Fazleabas AT. จดหมายเหตุการวิจัยทางการแพทย์. 2001เดือน พฤศจิกายน ถึง เดือน ธันวาคม ;32(6):627-34.
7
การเปิดรับมดลูกในลิงบาบูน
Lobo SC, Srisuparp S, Peng X, Fazleabas AT. สัมมนาเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์. 2001;19(1):69-74.
8
Interleukin-1beta กระตุ้นให้เกิดการแสดงออกของโปรตีนที่มีผลกับโปรตีน -1 ที่คล้ายอินซูลิน
Strakova Z, Srisuparp S, Fazleabas AT. Endocrinology. 2000 Dec;141(12):4664-70.